หลายคนยังสงสัยว่าไหล่เสื้อสูทมีกี่แบบ และ ตัดสูทสไตล์ไหนเหมาะสำหรับเรามากที่สุด
วันนี้เราลองมาดูกันว่าไหล่สูทนั้นมีกี่แบบ ข้อดี/ข้อเสีย เป็นอย่างไรแล้วเราเหมาะกับทรงไหล่สูทแบบไหน
แบบของหัวไหล่ เสื้อสูท มีทั้งหมด 3 แบบ
1. Sloping Shoulder (American, Neapolitan) / The Unstructured Shoulder
สไตล์ไหล่ที่ทำให้รู้สึกผ่อนคลาย สร้างจากชั้นรองระดับที่บางมาก เข้าวงแขนด้วยมือที่มีระดับความยากพอสมควร เหมาะสำหรับผ้าสไตล์แคชชวลและทางการ ที่สำคัญเหมาะกับคนไหล่ตั้งจนถึงลาดไม่มาก แต่ไม่เหมาะสำหรับคนไหล่ลาดพิเศษ เนื่องจากทำให้ไหล่เราดูลาดมากไม่เสริมบุคลิกภาพ แต่ข้อดีคือทำให้หัวไหล่เรากลมสโลปตามไหล่
2. Straight Shoulder (British)
สูทที่เน้นหัวไหล่ระดับกลางพบบ่อยมากที่สุด เสริมบุคคลิก สามารถใส่ได้ทั้งคนไหล่ลาด ไหล่ตั้ง และไหล่ระดับปรกติ เรียกได้ว่าครบทุกรูปร่างมีการเน้นหัวไหล่เล็กน้อยในระดับหนึ่ง มีความเป็นทางการสูง และยังเหมาะสำหรับผู้ที่มีไหล่เล็กๆอีกด้วย
3. Pagoda Concave “Rope” Shoulder (Italian, French)
ทรงไหล่แบบคลาสสิคที่มีความนูนมากกว่าปรกติ เราเรียกว่า “Rope” ส่วนมากไม่ค่อยนิยมในเมืองไทยมากนักเนื่องจากคนไทยเราส่วนมากจะมีไหล่ที่ตั้ง การเน้นส่วนไหล่มากเกินไปทำให้ดูเกินจริง รูปแบบนี้เป็นรูปแบบหนึ่งของสไตลยุโรป โดยเฉพาะอิตาลี หรือ เรียกว่า (Victorian look), high-cut armholes, มีช่องว่างในช่วงวงแขนมากพิเศษทำให้เคลื่อนไหวได้มาก
ตัดสูทคุณภาพ ด้วยผ้านำเข้าจาก อังกฤษและ อิตาลี
ตัดสูท ตัดเชิ้ต ตัดกางเกง คุณภาพด้วยผ้าชั้นเลิศ “ควบคุมการผลิตด้วยโรงงานของเราเอง”
ร้านตัดสูท ตัดเชิ้ต ตัดกางเกง สูทเจ้าบ่าว สูทงานแต่ง ตัดสูทเจ้าบ่าว ตัดสูทเพื่อนเจ้าบ่าว
CONTACT US
LINE: @dgrie
TEL: 0827707770 (hotline)
http://www.dgrie.com
http://instagram.com/dgrie
http://facebook.com/dgrie
DGRIE SIAMSQUARE SOI 2
สยามสแควร์ ซอย 2
026584899
เปิด 11.30-20.30น.
Google Map: DGRIE SIAM
https://goo.gl/maps/qMuiKk1t1UL2
DGRIE SATHORN
สาขาสาทร นราธิวาสราชนครินทร์ ซอย 15 หัวมุมติดถนนใหญ่
0827707770
เปิด 11.00-20.00น.
Google Map: DGRIE SATHORN
https://goo.gl/maps/q3hANKBHV5v
” WE ALSO CARRY WELL KNOW BRANDS SUCH AS VITALE BARBERIS CANONICO, HOLLAND & SHERRY, DORMEUIL, GUABELLO, MARZONI, BAIRDMCNUTT IRISH LINEN, HARRISONS OF EDINBURGH, DRAPERS, TALLIA DI DELFINO, SCABAL, THOMAS MASON, Piacenza 1733, Ermenegildo Zegna, Loro piana “